วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สรุปงานนำเสนอ เรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด

                                                           

                   

                                   สมาชิกในกลุ่ม
                                  1.  นางเสาวคนธ์    บุญชู  เลขที่ 46
                                     2.นางสาวอารีย์  เผือกไธสง  เลขที่  51
                                       3.  นางสาวอุไรวรรณ  จันศิริ  เลขที่  54
1.4   การพัฒนากระบวนการคิดให้กับผู้เรียน                                               
ความหมายของการคิด 
การคิด คือ กระบวนการทำงานของสมอง ที่เกิดขึ้นภายใน ซึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถของ
สมองแต่ละซีกของมนุษย์ และเป็นความสามารถเฉพาะบุคคล (กระทรวงศึกษาธิการ,2548:9 )
ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถย่อย ๆ ในการคิดในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งเป็นองค์ประกอบ
ของกระบวนการคิดที่ซับซ้อน (ศิริกาญจน์  โกสุมภ์  และดารณี  คำวัจนัง,2545:11 )
แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการคิด
แนวคิดกระบวนการทางปัญญาของประเวศ วะสี 
1. การสังเกต         2. การบันทึก         3. ฝึกการนำเสนอ                 4. ฝึกการฟัง          5. ฝึกปุจฉา-วิสัชนา
6. ฝึกตั้งสมมติฐาน และตั้งคำถาม      7. ฝึกการค้นหาคำตอบ        8. การวิจัย              9. การเชื่อมโยงบูรณาการ  
10. การฝึกเขียนเชิงวิชาการ   (ศิริกาญจน์  โกสุมภ์  และดารณี  คำวัจนัง,2545:17-18 )
แนวการพัฒนาการคิดตามแนวคิดของบลูม และคณะ(กระทรวงศึกษาธิการ,2548:15-16 ) ได้จำแนกการพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ความคิดของคนเป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. ความรู้ ความจำ    2. ความเข้าใจ     3. การนำไปใช้      4. การวิเคราะห์     5. การสังเคราะห์         6. การประเมินค่า
แนวทางการส่งเสริมความสามารถในการคิด  (กระทรวงศึกษาธิการ,2548:17-18 )
1 การส่งเสริมตั้งแต่อยู่ในครรภ์          2 การจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม                 3 การใช้ชุดฝึกการคิด
4 การจัดสอนเป็นรายวิชา                   5 การจัดทำหลักสูตรระยะสั้น                            6 การบูรณาการการคิดเข้าในรายวิชา               7 การใช้รูปแบบการเรียนการสอน       8 การใช้เทคนิคต่าง ๆ ที่ส่งเสริม และพัฒนาการคิด
กระบวนการคิด  (กระทรวงศึกษาธิการ,2548:32 )
เป็นขั้นตอนการคิด  ซึ่งถ้าดำเนินการตามขั้นตอนของกระบวนการคิดนั้นๆแล้ว จะช่วยให้บุคคลประสบการณ์ความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของการคิดนั้นๆ  ได้ซึ่งคิดขั้นสูงต่างๆที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชีวิตประจำวัน
การคิดแบบหมวก 6 ใบ (Six thinking hats) ( สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา,2548:53 )
1. หมวกสีขาว  หมายถึง  ความคิดเกี่ยวกับตัวเลขและข้อเท็จจริงต่าง ๆ
2. หมวกสีแดง   หมายถึง  การคิดเกี่ยวกับการแสดงออกของอารมณ์ ความรู้สึก รสนิยม ความพอใจ ความประทับใจ
3. หมวกสีดำ หมายถึง  การคิดเกี่ยวกับด้านลบ โดยมีเหตุผลประกอบ
4. หมวกสีเหลือง   หมายถึง การคิดเชิงบวก การคิดมองโลกในแง่ดี        
5. หมวกสีเขียว  หมายถึง การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดสิ่งใหม่ ๆ          
6. หมวกสีน้ำเงิน  หมายถึง  การคิดที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและการบริหารกระบวนการคิด
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-based learning) ( สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา,2548:57 )
1. ระบุปัญหา         2. ระดมสมอง ฝึกการคิด และการทำงานเป็นกลุ่ม          3. เลือกแนวทางการแก้ปัญหา         
   4. ทดลอง               5. ประเมินผลการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT  (อ้างใน วัชรา เล่าเรียนดี,2547:87)
1. สร้างคุณค่า และประสบการณ์ของสิ่งที่เรียน              2. วิเคราะห์ประสบการณ์    3. ปรับประสบการณ์เป็นความคิดรวบยอด
4. พัฒนาความคิดรวบยอด  5. ลงมือปฏิบัติจากกรอบความคิดที่กำหนด     6. สร้างชิ้นงาน เพื่อสะท้อนความเป็นตนเอง   
7. วิเคราะห์คุณค่า และประยุกต์ใช้    8. แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้กับผู้อื่น
ผังมโนทัศน์  (Mind  mapping)  ขั้นตอนการสร้างผังมโนทัศน์  ดังนี้
1. เขียนหรือวาดภาพมโนทัศน์หลัก  ควรใช้กระดาษไม่มีเส้น และวางกระดาษในแนวนอน
2. เขียนหรือวาดภาพมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลัก 
3. เขียนหรือวาดภาพมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อย ๆ
การให้คำถามเพื่อพัฒนากระบวนการคิดระดับสูง  (อ้างใน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,2548:54)
1. คำถามระดับต่ำ (Lower-level  questions) เป็นคำถามด้านความรู้ ความจำ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ที่ไม่ซับซ้อน
2. คำถามระดับสูง(Higher-level  questions) เป็นคำถามด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประมาณค่า
ลักษณะของคำถาม (อ้างใน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,2548:55)
1. คำถามปลายปิด        2. คำถามปลายเปิด     3. คำถามที่มุ่งเน้นการให้ความสนใจ     4. คำถามที่ต้องการมาตรวัด   
 5. คำถามให้เปรียบเทียบ      6. คำถามให้แสดงออก หรือกระทำ   7. คำถามเพื่อให้แก้ปัญหา     8. คำถามปฏิบัติการ


วันเสาร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

อบรมพัฒนาตนเอง



ร่วมทำกิจกรรมการทดลองกับคณะคุณครูที่เข้ารับการอบรม


อบรมเชิงปฎิบัติการเคมีเรื่องกรด - เบส
 ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์



ร่วมทำกิจกรรมการทดลอง



นำผลการทดลองเสนอกับอาจารย์ประหยัด  สระกลางวิทยากรอบรม


อบรมเชิงปฎิบัติการการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
วันที่  11-12  กรกฏาคม  2553
 


ร่วมกิจกรรมการทดลองเรื่อง  การวัดตัวต้านทาน



ร่วมกิจกรรมการทดลองเรื่อง  การวัดตัวต้านทานกับคุณครูนิภาพร  จุลลาย



ร่วมกิจกรรมการทดลองเรื่องการทดสอบกรด -เบส
 

ร่วมกิจกรรมการทดลองเรื่องการทดสอบกรด -เบส


อบรมเชิงปฎิบัติการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
ในสถานศึกษา ที่โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม 
วันที่  6 - 10  ตุลาคม  2553


อบรมเชิงปฎิบัติการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
ในสถานศึกษา ที่โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม 
 วันที่  6 - 10  ตุลาคม  2553


อบรมเชิงปฎิบัติการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
ในสถานศึกษา ที่โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม 
 วันที่  6 - 10  ตุลาคม  2553


อบรมเชิงปฎิบัติการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
ในสถานศึกษา ที่โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม 
 วันที่  6 - 10  ตุลาคม  2553

รับเกียรติบัตรจากผู้อำนวยการโรงเรียน 
 นายประชุม  พันธุ์พงศ์

คณะคุณครูกล่มสาระวิทยาศาสตร์ร่วมถ่ายรูปกับผู้อำนวยการ

วันศุกร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

นักเรียนชั้นม.5/1 ทำการทดลองเรื่องสมบัติกรด - เบส 
 ทดสอบโดยใช้กระดาษลิตมัส




จัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/4
 เรื่องการทดสอบสารอาหาร





จัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนชุมนุมนักเคมีรุ่นเยาว์



นักเรียนชั้นมง 5/3 ทำการทดลองเรื่องสมบัติกรด - เบส 
ทดสอบโดยใช้กระดาษลิตมัส


  

จัดการเรียนการสอนให้กับนักเนรีบยนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1/1
 เรื่องโรคทางพันธุกรรม




เตรียมอุปกรณ์การทดลองเรื่องไทเทรตกรด - เบส







จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5 /1
 เรื่องการไทเทรตกรด - เบส




จัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาเคมี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/1
เรื่อง การไทเทรตกรด- เบส



จัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาเคมี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/1
เรื่อง การไทเทรตกรด- เบส


จัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาเคมี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/1
เรื่อง การไทเทรตกรด- เบส


อธิบายการทำกิจกรรมการทดลองให้นักเรียนชั้น  ม5/1


อธิบายการเกิดปฎิกิริยาที่กรดกับเบสทำปฎิกิริยากัน
เมื่อถึงจุดยุติเปลี่ยนเป็นสีชมพู


ยกตัวอย่างที่สารทำปฏิกิริยาได้พอดี


ยกตัวอย่างสารที่ทำปฏิกิริยามากเกินพอ
ทำให้การทดลองคลาดเคลื่อน


นักเรียนตั้งใจทำกิจกรรม



เปรียบเทียบผลการทดลองให้นักเรียนชั้น ม. 5/3



นักเรียนชั้นม. 5/3 ทำการทดลองอย่างตั้งใจ


ร่วมอภิปลายและสรุปผลการทดลองให้กับนักเรียนชั้น ม.5/3



อธิบายการคำนวณหาความเข้มข้นของสาร
จากการทดลองให้กับนักเรียนชั้นม.5/3